PDCA เครื่องมือง่ายๆสำหรับพัฒนางาน บทความโดยศศิมา สุขสว่าง
สมัยที่ผู้เขียนเริ่มงานเป็นวิศวกรใหม่ๆนั้น ได้มาทำงานด้านการตรวจสอบคุณภาพ ต่อมาก็มาทำงานด้านการวิจัยพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ง่ายๆในตอนนั้น คือ PDCA ของปู่เดมมิ่ง หรือ ดับเบิ้ลยู เอ็ดเวิร์ดส เดมมิ่ง (W. Edwards Deming) ซึ่งได้พัฒนาและเผยแพร่เครื่องมือคุณภาพจากผู้คิดค้น คือ ชิวฮาร์ต (Schewhart) และต่อมาเรียกว่า Deming Cycle หรือ วงจร PDCA หรือ วงจรเด็มมิ่ง
วงจรเด็มมิ่งนี้เกิดที่อเมริกา แต่มาโตที่ญี่ปุ่น มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในญี่ปุ่นในอุตสาหกรรมใหญ่ๆ โดยช่วงแรกๆนำมาใช้ในระบบควบคุณภาพเป็นส่วนใหญ่ หลังจากนั้นก็พบว่า สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกๆเรื่องของการปฏิบัติงาน
ในเมืองไทยเราก็มีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย ถือว่าเป็นเครื่องมือที่คลาสสิคอีกเครื่องมือหนึ่งเลยทีเดียว
Deming Cycle หรือ วงจร PDCA หรือ วงจรเด็มมิ่งมีอะไรบ้าง
P (Plan) คือ การวางแผนจากวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายที่วางไว้ โดยวางแผนทั้งขั้นตอน วิธีการดำเนินการ เวลาที่ใช้ ทรัพยากรต่างๆเช่น คน สิ่งของ ผลลัพธ์ที่ต้องการ และงบประมาณต่างๆ
D (Do) คือ การปฏิบัติตามแผน โดยทำความเข้าใจ กระจายงานไปให้แต่ละทีมหรือบุคคลากรในทีม แล้วลงมือทำตามแผนให้ได้ผลลัพธ์หรือเป้าหมายที่วางแผนไว้
C (Check) คือ การตรวจสอบ หรือการประเมินผลและนำผลประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน รวมทั้งผลลัพธ์สุดท้ายว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่
A (Action) คือ การปรับปรุงแก้ไขดำเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน หากผลที่ออกมาดี ก็นำมาเป็นมาตรฐานเพื่อเป็นแนวปฏิบัติงานในครั้งต่อๆไป และเป็นองค์ความรู้สำหรับผู้ที่มารับงานหรือดำเนินงานรุ่นต่อไป หากผลที่ออกมาต่ำกว่ามาตรฐาน หาวิธีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อไปเพื่อให้ได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขดำเนินการ จะทำให้มาตรฐานหรือคุณภาพสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงเรียกว่า วงจรบริหารงานคุณภาพ
เมื่อมีการใช้ PDCA ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องแล้วนั้น จะทำให้ระบบมีการพัฒนาอย่างมีมาตรฐานสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เรียกว่า การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง "การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement)" ถ้านำไปใช้ในกระบวนการผลิต กระบวนการผลิตนั้นจะสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐานสูง และเกิดของเสียน้อย จนกระทั่งไม่มีเลย และหากมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง สามารถที่จะพัฒนาหรือสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆได้จาก กระบวนการ PDCA นี้
PDCA เอาไปใช้กับงานอะไรได้บ้าง
1.งานด้านการควบคุมคุณภาพ ตั้งแต่การวางแผน ไปจนถึงออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐาน
2. งานด้านการบริหารโครงการ (Project Management) ตั้งแต่เริ่มต้น วางแผน ดำเนินงาน จนจบโครงการ
3.การพัฒนาตัวเองในด้านต่างๆ เช่น การพัฒนาด้านความรู้ ทักษะ หรือความชำนาญด้านต่างๆ สามารถนำ PDCA มาใช้ในการพัฒนาได้ หากนำมาใช้ในการพัฒนาบุคคลากรในองค์กร บุคคลากรเหล่านั้นก็จะสามารถเติบโตเป็นคลื่นลูกใหม่ที่มีศักยภาพอย่างสูงได้
ดังนั้น ไม่ว่า จะนำเครื่องมือใดๆก็ตามมาใช้ในการพัฒนา ต้องมีการลงมือทำ และทำอย่างสม่ำสมอ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หากนำมาใช้ในการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน จะสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ดียิ่งขี้นไปเรื่อยๆได้ ที่สำคัญคือ คนในองค์กรต้องร่วมมือ ร่วมใจกันพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement with PDCA)
.......................................
Creative to Innovation เป็นพื้นที่แบ่งปันและแลกเปลี่ยนแนวคิดเรื่องกระบวนการและเทคนิคการคิดสร้างสรรค์และการพัฒนานวัตกรรม โดยถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานด้านการวิจัยพัฒนานวัตกรรม ให้คำปรึกษา การสอนด้านการพัฒนานวัตกรรมของผู้เขียน (ศศิมา) ซึ่งเป็นนักพัฒนานวัตกรรมหรือนวัตกร (Innovator) และผันตัวมาแบ่งปัน อบรมสัมมนาให้คำปรึกษาด้านการพัฒนานวัตกรรม โดยการอบรมสัมมนาจะยึดหลัก 3Fs - Fun (สนุก) -Full (เต็มไปด้วยสาระ) - Friend (มิตรภาพการทำงานเป็น Team Work)
.................................
ศศิมา สุขสว่าง จบการศึกษาปริญญาโทด้านวิศวกรรมศาสตร์จาก Dresden University of Technology (https://tu-dresden.de) ประเทศเยอรมนี ทำงานด้าน Research & Development Engineer มาโดยตลอด และเป็นผู้ก่อตั้งและบริหารศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์ขององค์กรอิสระแห่งหนึ่ง และได้รับการอบรมด้านโค้ชทั้ง Mindfulness Coaching, Life Coach , Talent Coach และ NLP Coaching จากสถาบันสอนการโค้ชที่ได้รับการรับรองระดับสากล ปัจจุบันศศิมาเป็น วิทยากร ที่ปรึกษา และ Innovation Coach ที่มีความสุขและมุ่งมั่นที่แบ่งปันเรื่องพัฒนานวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างคุณค่าให้ผู้คน
...........................................
ติดตามข่าว เรื่องความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และแลกเปลี่ยนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม หรือติดต่อวิทยากรอบรม In-House training หลักสูตรความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม (Product Development and Innovation) ได้ที่
ศศิมา สุขสว่าง (เก๋)
E-mail : sasimasuk.com@gmail.com
Website : www.sasimasuk.com
line ID : sasimasuk.com
Facebook : https://www.facebook.com/CreativetoInnovation
Tel. : 081-560-9994 (โทรกลับเฉพาะเบอร์มือถือนะคะ)
-
หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ของ Sasimasuk.com ที่เป็นหลักสูตรมาตรฐานและจัดบรรยายใน In-House Training มี 8 หลักสูตรดังรายละเอียดด้านล่าง และสามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับความต้อ...
-
สวัสดีค่ะยินดีต้อนรับเข้าสู่บริษัท HCD Innovation CO.;Ltd. หรือ Human Creativity Development (HCD) Innovation พื้นที่เล็กๆที่อ.ศศิมา สุขสว่าง(อ.เก๋) แบ่งปันและแลกเปลี่ยนมุมมอง ประส...
-
จากประสบการที่เก๋ไปเป็นที่ปรึกษา วิทยากร และโค้ชในเรื่องของการพัฒนานวัตกรรมให้กับหลายๆบริษัทที่ผ่านมา พบว่า อุปสรรคที่สำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรมในองค์กรให้เกิดขึ้นได้จริงอย่...
-
ความคิดเชิงนวัตกรรมเป็นอีกความจำเป็นหนึ่งที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคคลากรในองค์กร เพื่อเตรียมพร้อมในการพัฒนาองค์กรเติบโต และสร้างมูลค่าทางธุรกิจของบริษัทให้เติบโต บริษัทที่มีการพัฒน...
-
เมื่อต้นปี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้มอบหมายให้ สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ดำเนินกิจกรรมสร้างนักออกแบบ Innoneering designers ยุคใหม่ ภายใต้โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์...
-
ความคิดสร้างสรรค์ที่ดี จะช่วยสร้างความแตกต่างให้กับคู่แข่งทางธุรกิจ ช่วยให้เกิดแนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนามูลค่าทางธุรกิจให้กับองค์กร สามารถแข่งขันกับโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร...
-
เนื่องจากในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของ เทคโนโลยี การแข่งขัน สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เศรษฐกิจ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ทำให้องค์กรต่างๆ ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ สถานการณ...
-
เก๋อยากแบ่งปันเรื่องของคำจำกัดความของคำว่า "นวัตกรรม (Innovation)" เพราะเวลาที่ไปเป็นที่ปรึกษาหรือวิทยากรตามบริษัทต่างๆ ก่อนที่จะเริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม ก็มักจะทำความเข้าใจเ...
-
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นอีกความจำเป็นหนึ่งที่ช่วยองค์กรเติบโต และสร้างมูลค่าทางธุรกิจของบริษัทให้เติบโตด้วย บริษัทที่มีการพัฒนาพนักงานให้มีความคิดสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง จ...
-
ในปัจจุบันเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างรวดเร็วและผกผัน (Disruptive Innovation) การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทำให้ทุกองค์กรต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวทางไปสู่องค์กรท...
-
หลายคนที่ไม่กล้าคิดนวัตกรรม เพราะคิดว่า นวัตกรรม ต้องมีความใหม่ระดับโลก เป็นเรื่องของผู้บริหาร หัวหน้า เรื่องของคนเก่ง เรื่องของวิศวกร ที่จะคิดได้ หากแต่ตามมาตรฐาน BRITISH STANDAR...
-
คุณค่า(Value Creation) ของนวัตกรรม ส่วนประกอบที่สำคัญอีกอย่างของนวัตกรรม (Innovation) คือ ต้องมีคุณค่า(Value Creation) และมีประโยชน์ต่อผู้อื่น เศรษฐกิจและสังคม หากไม่สามารถสร้างคุณ...
-
เก๋เป็นคนที่หลงใหลในเรื่องของนวัตกรรมและการวิจัยพัฒนาสิ่งใหม่ๆมาก เหตุผลหนึ่งคือชอบจินตนาการ คิดทำสิ่งใหม่ๆ ค้นคว้าวิจัย งานที่ผ่านมาก็จะทำงานในสายงานด้านวิศวกรวิจัยพัฒนามาตลอด หน...
-
เก๋เริ่มทำงานเป็นวิศวกรด้านวิจัยพัฒนาตั้งแต่บริษัทที่ 2 บริษัทแรกเป็นการทำงานด้านการทดสอบ (testing) ทำไปช่วงแรกก็สนุกดี แต่พอทำไปเรื่อยๆเริ่มรู้สึกว่า งานซ้ำเหมือนเดิม เพราะการทดสอ...
-
"Business Model Canvas (BMC)" หรือ "แบบจำลองธุรกิจ" หรือ "ผืนผ้าใบแบบจำลองธุรกิจ" เป็นเครื่องมือทันสมัยที่รวบเอาแผนธุรกิจแบบยาวๆมาไว้ในหน้าเดียว เพื่อให้เห็นภาพรวมของธุรกิจก่อนที่จ...
-
"การพัฒนานวัตกรรมสำหรับ Thailand 4.0" นโยบายที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม สู่ Thailand 4.0 เพื่อสร้างการแข่งขันและเติบโตอย่างต่อเนื่องขององค์กร เป็นอีกนโยบายที่โด...
-
เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2560 เก๋ได้มาเป็นวิทยากรแบ่งปันความรู้ในหลักสูตร ""9 Effective Creative Tools for New Product Development and Innovation : เครื่องมือทรงประสิทธิภาพคิดสร้างสรรค...
-
ตลอดชีวิตการทำงาน ตั้งแต่เรียนจบ ได้ทำงาน R&D Engineer มาโดยตลอด จนปัจจุบัน เป็นวิทยากรความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม เลยอยากจะแบ่งปันเรื่องราวของการความคิดสร้างสรร...
-
เก๋ได้มีโอกาสดูคลิบยูทูปสั้นๆเรื่องหนึ่ง ดูแล้วสะท้อนความเป็นจริงในสังคมเราเป็นอย่างมาก เป็นคลิบที่ทำโดย Daniel Martínez Lara และ Rafa Cano Méndezกดที่รูปภาพเพื่อดูคลิปค่ะ ที่มา h...
-
โมเดลการเรียนรู้แบบ 70:20:10 นั้น ก่อตั้งขึ้นโดยนักเขียนMorgan McCall, Michael Lombardo และ Robert Eichingerในความร่วมมือกับ(partnership) กับ Centre for Creative Leadership และถือว...
-
การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)หมายถึง ความสามารถในการคิดจำแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูลหรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็นย่อยๆ ในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์ระหว่...
-
การระดมสมองหรือการระดมความคิด (Brainstorm)เพื่อปลุกไอเดียสร้างสรรค์ เป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการระดมความคิดเพื่อหาไอเดียสร้างสรรค์ไหม่ๆ หรือใช้ในระดมความคิดเพื่อแก้ไขปัญหา จา...
-
เทคนิค ATTRIBUTE LISTING วิธีนี้มาจาก Michael Morgan เป็นเทคนิคที่ใช้ list รายการคุณลักษณะ เหมือนหัวหอมที่ปอกเปลือกไปทีละชั้นๆจนถึงข้างใน ถ้าใช้ในการคิดสร้างสรรค์ เป็นการ list คุณล...
-
Biomimicry มาจากภาษากรีกคำว่า 'Bios' เเปลว่า ‘ชีวิต’ และ 'Mimic' มีความหมายว่า ‘ลอกเลียนแบบ’ดังนั้น เทคนิค Biomimicry เป็นเทคนิคที่ใช้การเลียนแบบสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติมาคิดประดิษฐ์...
-
Challenge Assumptions เป็นการท้าทายกับสมมุติฐานต่างๆ เป็นเทคนิคที่ใช้การตั้งคำถามกับสิ่งต่างๆในทุกๆวัน เพื่อสร้างสรรค์มุมมองใหม่ๆในหัวข้อที่นำมาเป็นประเด็นการคิด เทคนิคนี้เรียกอีกอ...
-
Brainwriting 6-3-5 เป็นการระดมสมองอีกรูปแบบหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการระดมความคิดแบบองค์รวม จากการมีส่วนร่วมแบบไม่สม่ำเสมอของสมาชิกบางคน บางคนอาจจะพูด...
-
ตามประสบการณ์และข้อมูลที่เก๋ได้รับทราบและค้นคว้ามาเพิ่มเติม ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่าน ประเทศต่างๆในเอเชีย รวมทั้งในยุโรปเองนั้น ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ที่คนรุ่นใหม่ มีลูกยาก หรือบางครอบ...
-
ในช่วงที่ผ่านมา เก๋ได้ไปเป็นวิทยากร และ ที่ปรึกษา ในองค์กรเอกชน SMEs ภาครัฐ หลายองค์กร และได้คิดกิจกรรม Workshop ขึ้นมากิจกรรมหนึ่ง ซึ่งกิจกรรมนี้ หลังจากทำเสร็จ ได้มีหลายๆบริษัทได...
-
ความคิดสร้างสรรค์เป็นความจำเป็นของธุรกิจที่ต้องส่งเสริมพนักงานให้มีทักษะนี้ เพื่อให้องค์กรสามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้ มีการพัฒนากลยุทธ์ใหม่ ๆ และผลักดันการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร เพ...
-
Ask Question คำถามดีๆ สามารถสร้างแนวคิดและการแก้ปัญหา รวมทั้งเป็นจุดก่อกำเนิดของนวัตกรรม สร้างแนวคิดและความแตกต่างให้กับบริษัท เพื่อแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ แล้วคำถามที่ดีท...
-
SCAMPER- Osborn's Idea Stimulation checklists เป็นเทคนิคที่พัฒนาขึ้นมาโดย อเล็กซ์ ออสบอร์น (Alex Osborn) เป็นเครื่องมือง่ายๆในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยวิธี...
-
ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แนวคิดที่สำคัญมากเป็นอันดับต้นๆ คือผลิตภัณฑ์นั้นสามารถแก้ไขปัญหาให้ลูกค้า หรือตอบสนองต่อความคาดหวัง ความจำเป็นเเละความต้องการของลูกค้าได้ รวมทั้งมีอะไรบางอย่างท...
-
เก๋ได้มาเป็นวิทยากรแบ่งปันความรู้ในหลักสูตร ""9 Effective Creative Tools for New Product Development and Innovation : เครื่องมือทรงประสิทธิภาพคิดสร้างสรรค์ปั้นนวัตกรรม" ในโครงการปร...
-
โครงการพระราชดำริ "ฝนหลวง : The Royal Rainmaking Project" Innovation หรือ นวัตกรรม ซึ่งเป็นฟันเฟืองสำคัญที่ช่วยส่งเสริมจาก เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Economy) และ เศรษฐกิจเชิงสร...
-
เก๋ได้ไปสัมมนา Innovation Conference ที่มหาวิทยาลัย เดรสเดน ประเทศเยอรมนี (Technische Universitaet Dresden, Germany) ที่เก๋เรียนจบปริญญาโทมา ระหว่าง 22 กันยายน ถึง 1 ตุลาคม 2560 สิ...
-
อ.ศศิมา สุขสว่าง ได้พัฒนาโมเดลสำหรับการโค้ชเชิงนวัตกรรม สำหรับผู้จัดการหรือผู้นำที่ต้องการพัฒนาทีมงานให้มีแนวคิดและศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมขึ้น คือโมเดล SPARK model fo...
-
ปัจจุบันการสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมในองค์กร ถือว่าเป็น Core competency ขององค์กรส่วนใหญ่ที่มีการผลักดันและสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการคิดสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมองค์กร เพื่อให้ธุ...
-
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมนั้น ปัจจัยที่สำคัญที่จะทำให้เกิดนวัตกรรมในองค์กรอีกประการหนึ่งคือ เรื่องของการสื่อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลของแต่ละหน่วยงานมาเพื่อที่จะไ...
-
การพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมในด้านผลิตภัณฑ์ (Product) กระบวนการ (Process) หรือบริการ (Service) ในปัจจุบัน เป็นเรื่องที่จำเป็นกับทุกองค์กร สำหรับธุรกิจที่อยู่ในโลกของ V...
-
โครงการนี้เป็นโครงการที่สนับสนุนโดยสสว. และดำเนินการโดย สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยอาจารย์ศศิมา สุขสว่าง ได้เข้าไปให้คำปรึกษาแนะนำด้านการพ...
-
เขาบอกว่า ถ้าเราลงมือทำอะไรเกิน 10,000 ชั่วโมง จะเป็นผู้เชี่ยวชาญเก๋ลองมาคำนวณประสบการณ์ด้านการทำงานด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และพัฒนานวัตกรรมของตัวเองเป็น ชั่วโมง(นับเฉพาะประสบการณ์ด้...
-
ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า นวัตกรรม (Innovation ) เป็นปัจจัยที่สำคัญอันดับต้นๆสำหรับอัตราเติบโตและการแข่งขันของเศรษฐกิจไทย เพราะจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม การเมืองแล...
-
การตัดสินใจ เป็นอีกหน้าที่หนึ่งที่สำคัญของคนที่เป็นผู้นำ หรือหัวหน้า หรือผู้จัดการ ในการบริหารคนและบริหารงานให้ขับเคลื่อนไปข้างหน้า สิ่งที่แย่ที่สุดที่มักจะเจอคือ การไม่ตัดสินใจในเ...
-
25 วิธี หาแรงบันดาลใจและเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ บทความนี้นี้เกิดขึ้นจากคำถามที่ถามเข้ามามากมายที่อ.ศศิมา -เก๋ ได้รับคือ ถ้าจะมีไอเดียใหม่ๆ มีความคิดใหม่ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ อย่างส...
-
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving : CPS)คืออะไร เรามาทำความเข้าใจ Creative Problem Solving ก่อนว่ามีความหมายอย่างไร เพื่อให้เข้าใจและมองภาพเดียวกันค่ะ Creative ...
-
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving : CPS) การแก้ปัญหาในกระบวนการทำงานต่างๆ ถือว่าเป็นอีกงานหนึ่งของทุกคนที่ทำงาน หลายครั้งมีพี่ๆเพื่อนๆน้องๆมาพูดคุย กับอ.เก๋ ว่าท...
-
ในการคิดแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ Creative Problem solving นั้นเราจะมีรูปแบบการคิดสร้างสรรค์ 2 รูปแบบคือ รูปแบบแรก Divergent Thinking การคิดวิเคราะห์เพื่อแยกแยะคิดถึงสิ่งใหม่ๆ แ...
-
การแก้ไขปัญหา Creative Problem Solving : CPS คือ กระบวนการคิดรูปแบบใหม่ๆที่จะทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไปถึงเป้าหมายที่ต้องการด้วยวิธีการหรือเทคนิคต่างๆที่สร้างสรรค์ต่างจากเดิ...
-
การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์เป็นทักษะการหาคำตอบที่หลากหลาย แปลกใหม่ ในการแก้ไข ปัญหาในสถานการณ์ที่จำกัด สามารถเลือกวิธีการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม มีเหตุมีผลสามารถอธิบาย กระบวนการแก้ปัญหา...
-
วันนี้อาจารย์ศศิมา -เก๋ จะมาแลกเปลี่ยนและแบ่งปันวิธีการระดมสมองอีกวิธีการหนึ่งที่ชื่อว่า Role storming เทคนิคการระดมสมองด้วยการสวมบทบาทเป็นคนอื่นค่ะ Role storming คืออะไร Role s...
-
หลายคนมีปัญหาว่า คิดอะไรไม่ค่อยออก เวลาเจ้านายให้คิดไอเดียใหม่ๆมาพัฒนาการทำงาน หรือให้คิดนวัตกรรมใหม่ๆให้กับองค์กร ก็คิดไม่ออก วันนี้เก๋มาชวนทุกท่านลองสังเกตตัวเองนะคะว่า เวลาที่เร...
-
เคยสงสัยไหมคะว่า ทำไมบางคนถึงคิดสร้างสรรค์ คิดแก้ไขอะไรใหม่ๆได้ง่าย หรือเชื่อมโยงประเด็นโน่นนี่ จนหาทางแก้ไขปัญหา Solution ได้อย่างรวดเร็ว บางคนคิดเท่าไรก็คิดไม่ออก รู้สึกยาก และเค...