Lecture at TU Dresden,Germany เมื่อไปเป็นวิทยากรที่มหาวิทยาลัยที่จบมาที่ประเทศเยอรมนี
เมื่อต้นเมษายน 2559 ผู้เขียนได้จดหมายเชิญทางอีเมล์จากอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยที่ เยอรมนี The Technische Universität Dresden (TUD) ที่ผู้เขียนเรียนจบระดับปริญญาโทด้านวิศวกรรมศาสตร์มา ทางอาจารย์ติดต่อมาให้ไปพูด เล่าให้น้องๆฟังหน่อยว่า หลังจากที่เรียนจบมา กลับมาเมืองไทย แล้วได้ทำอะไรบ้าง อาจารย์ให้โจทย์มาแค่ มีคนฟัง 20 คน มีเวลาให้ 90 นาทีและให้ตั๋วเครื่องบินไปกลับ
วันที่สัมนา คือ 4 พฤษภาคม 2559 ก่อนเล็คเชอร์ให้น้องๆ ก้อไปเจอโปรเฟสเซอร์ อาจารย์ เพื่อนฝูง คุยมีความสุข สนุกสนาน อาจารย์บอกว่าให้เล็คเชอร์ 2 ภาษานะ เพราะมีหลายๆท่านอยากฟัง แต่ไม่ถนัดภาษาอังกฤษ ผู้เขียนได้ปรับหน้างานนำเสนอเป็นภาษาอังกฤษและเยอรมันผสมกัน
ก่อนจบ สุดท้ายมี workshop ให้น้องๆทั้งเยอรมันและต่างชาติทุกคน ได้แชร์ คนที่เข้าฟังเป็นนักศึกษาต่างชาติ อาจารย์. นักวิจัย คนเยอรมัน กว่า 30 คน อาจารย์หลายๆท่านที่เคยสอนผู้เขียนก็มานั่งฟังและให้กำลังใจด้วย มาดูความสำเร็จ ความสุขของลูกศิษย์ หน้าตาอิ่มเอมกันเลยทีเดียว
มีคำถามนึงที่น่าสนใจจากน้องๆเขาถามว่า "พอจบกลับไปแล้ว ใช้เวลานานไหมในการปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมเดิมของเรา" ผู้เขียนตอบว่า " ถ้าเรื่องกินอยู่หลับนอน แค่เดือนเดียวก้อโอเคแล้วแต่เรื่องการทำงานอาจจะต้องใช้เวลาหน่อย ยกตัวอย่าง การทำงานบ้านเรา(คนถามเป็นคนเวียดนาม)เอเชีย ยังมีระบบอาวุโส การทำงาน เช่น การออกความคิดเห็น หรือการพูดตรงๆ ในทางตรงกันข้ามในที่ประชุมสามารถทำได้ แต่อาจจะต้องมีการปรับคำพูดให้นุ่มนวลขึ้น เป็นต้น "
จริงๆอยากจะบอกว่า พี่ไม่ได้ปรับอะไรเลย ตรงยังไงก้อตรงอย่างนั้นเพราะก่อนไปทำงาน มีรุ่นพี่เป็นหัวหน้ามีอะไรคุยกันแบบตรงไปตรงมาชี้แจงไปตามเหตุผลที่เป็นจริง
ตอนจบมาก้อโชคดีอีกที่เจ้านายแต่ละคนอยู่เมืองนอกเกิน 10 ปี เลยดูที่ผลงานมากกว่า ถึงบางทีจะตรงไปนิด แรงไปหน่อย ปัจจุบันยังตรงไปตรงมาอยู่ แต่เต็มไปด้วยสติและดุลยภาพมากขึ้น
จบสัมมนา ทุกคน happy มีความสุข ถือว่าประสบความสำเร็จ เพราะอาจารย์มาถามว่า ปีหน้า ถ้ามีจัดสัมมนาแบบนี้อีก จะมาไหม รีบบอกเลยมาค่ะ เป็นช่วงเวลาดีๆอีกเวลาหนึ่ง ที่น่าชื่นใจคืออาจารย์ขอชื่อไป เพื่อส่งให้ทางทุน DAAD พิจารณาเพื่อเข้าร่วมประชุมทำ Workshop ที่เวียดนามต้นกันยานี้อีก ประเด็นคือดีใจ ที่อาจารย์เห็นคุณค่าและให้ความสำคัญ ส่วนได้หรือไม่ได้ ก้อไม่ซีเรียส แค่นึกถึงก้อดีใจแล้วค่ะ
ประวัติมหาวิทยาลัย Technische Universität Dresden
The Technische Universität Dresden (TUD) is one of the largest “Technische Universitäten” in Germany and one of the leading and most dynamic universities in Germany. As a full-curriculum university with 14 faculties in five schools it offers a broad variety of 125 disciplines and covers a wide research spectrum. Its focuses of Biomedicine, Bioengineering, Materials sciences, Information technology, Microelectronics as well as Energy and Environment are considered exemplary in Germany and throughout Europe.
Since 2012 TUD is officially one of the “Universities of Excellence”. Its core elements are the “Institutional Strategy”, the Clusters of Excellence “Center for Advancing Electronics Dresden” (cfaed), “Center for Regenerative Therapies Dresden (CRTD) and the Graduate School “Dresden International Graduate School for Biomedicine and Bioengineering” (DIGS-BB).
About 36.000 students are enrolled at TUD – more than three times as many as in 1990 (11.220 students). Internationally, the TUD has earned a good reputation, about one eighths of its students come from abroad. Today, about 5.000 scientists from 70 countries are working at the Technische Universität Dresden.
เผื่อท่านใดอยากไปเรียนต่อที่เยอรมนี ผู้เขียนให้ข้อมูลไว้ตรงนี้เผื่อเป็นข้อมูลนะคะ
เวปไซต์มหาวิทยาลัยที่ผู้เขียนจบมา https://tu-dresden.de/
เวปไซต์เมืองที่ตั้งของมหาวิทยาลัย http://www.dresden.de/index_en.php
============
อ.ศศิมา สุขสว่าง (เก๋)
วิทยากร ที่ปรึกษา โค้ช ด้านการพัฒนานวัตกรรมและพัฒนาองค์กร
E-mail : sasimasuk.com@gmail.com
Website : www.sasimasuk.com
line ID : sasimasuk.com
Facebook : https://www.facebook.com/CreativetoInnovation
Tel. : 081-560-9994
-
ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งถือเป็น Growth Mindset อย่างหนึ่ง เป็นอีกความจำเป็นที่ช่วยองค์กรแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ และช่วยในการสร้างโอกาสและมูลค่าทางธุรกิจของบริษัทให้เติบโตด้วย บริษัทที...
-
Mindsetมีผู้ให้ความหมายไว้หลายความหมาย เช่น "กรอบความคิด" "กระบวนความคิด" ในส่วนของเก๋เองนั้น ให้ความหมายว่าMindsetหมายถึง "กระบวนการคิดของแต่ละบุคคลในการแสดงออกและทัศนคติ ซึ่งมาจ...
-
ในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาตัวเอง เพื่อก้าวออกจาก Fixed Mindset ไปสู่ Growth Mindset นั้น หลายๆคนต้องใช้พลังกาย พลังใจที่ก้าวข้ามComfort zone ผ่าน Fear Zone สู่ Learning Zone เพื่อให้...
-
“VUCA World”เป็นคำย่อของ ความผันผวน (Volatility) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) ความสลับซับซ้อน (Complexity) ความคลุมเครือ (Ambiguity) “VUCA World” เป็นคำที่ทางกองทัพสหรัฐอเมริกาใช้...
-
องค์กรใด หากมีบุคคลากรที่มี Growth Mindset เป็นอัตราส่วนที่มากกว่า Fixed Mindset จะทำให้โอกาสที่องค์กรสามารถพัฒนาทั้งธุรกิจและนวัตกรรมให้เติบโตอย่างต่อเนื่องจะเป็นจริงได้ 1. ปั...
-
Mindset หรือ ชุดของความเชื่อหรือกรอบความคิดหรือ วิธีคิดที่ความ “ฝังลึก” จนเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมมุมมองและทัศนคติของบุคคลที่มีต่อเรื่องราวและสิ่งต่าง ๆ ซึ่งในคนทุกคนจะมีทั้ง คนที่มีกร...
-
ในช่วงนี้หลายๆครั้งที่สมองเราปั่นป่วนไปด้วยสภาวะอารมณ์ที่มากระทบจากภายนอก ข่าว และสถานการณ์ต่างๆ วันนี้เก๋มา แนะนำเทคนิค การเขียนถึงตัวเอง เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยให้เราค้นหาสิ่งท...
-
จากการศึกษาของ Institute for the Future ได้สรุปทักษะที่จำเป็นในคศ. 2020 สำหรับพนักงาน หรือลูกจ้าง 10 อย่างที่จำเป็นที่ต้องมี หากไม่มีแล้วคุณมีโอกาสตกงาน หรือเสี่ยงต่อการไม่ก้าวหน้า...
-
โมเดลการเรียนรู้แบบ 70:20:10 นั้น ก่อตั้งขึ้นโดยนักเขียนMorgan McCall, Michael Lombardo และ Robert Eichingerในความร่วมมือกับ(partnership) กับ Centre for Creative Leadership และถือว...
-
วันนี้เก๋ -ศศิมา จะมาแบ่งปันเกี่ยวกับการปรับตัวและพัฒนาตัวเองเพื่อรับมือกับยุค Digital transformation และ VUCA World กันค่ะ อย่างที่เราได้ยินกันมาตั้งแต่ต้นปีแล้วนะคะว่า ปีนี้อยู่ย...
-
ในสถานการณ์ที่ปัจจุบัน หลายๆบริษัทประสบปัญหาวิกฤติ บางบริษัทก็ได้ลดคน หรือปิดบริษัท แต่ในบางบริษัท ก็รับคนเพิ่มในตำแหน่งงานต่างๆ เรียกว่าในวิกฤติก็มีโอกาสในหลายๆบริษัท สำหรับคนทำงา...
-
ปัจจุบัน บริษัทต่างๆมีโปรแกรมสำหรับพัฒนาการเรียนรู้ของบุคคลากรในบริษัท โดยใช้งบประมาณสูงมากในปีหนึ่งๆ แล้วก็ได้ผลบ้าง ไม่ได้ผลบ้าง ตรงกับที่ผู้เรียนต้องการบ้าง ไม่ตรงบ้าง ซึ่งจากบท...
-
ช่วงนี้หลายคนอาจจะได้ยินคำว่า "New Normal" บ่อย จนสงสัยว่ามันคืออะไร วันนี้เก๋มาแบ่งปันข้อมูลกันค่ะ คำว่า "New Normal" แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ความเป็นปกติในรูปแบบใหม่ " ซึ่งคำนี้ ถู...
-
วันนี้เก๋อยากจะแชร์แนวคิดและบอกเล่าเรื่องราวการพัฒนาตัวเอง เพราะที่ผ่านมาได้มีการคุยกับพี่ๆเพื่อนๆน้องๆหลายคน เกี่ยวกับเป้าหมายชีวิต อยากทำโน่น ทำนี่ อยากทำหลายอย่าง หรือบางคนขาดแร...
-
บทความนี้ เก๋มาแบ่งปัน คำถามที่ต้องถามตัวเอง ก่อนทำงานที่บ้านWork from HomeหรือWork anywhereเพื่อการเตรียมตัวให้พร้อม และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพค่ะ ช่วงนี้เป็นช่วงเหตุการ...
-
เก๋มาแบ่งปันแนวทางของตัวเองนะคะ เป็นเทคนิคการเรียนรู้เรื่องใหม่ๆ Re-skill ,Up skill โดยใช้เวลา 20-60 ชั่วโมงให้เรียนรู้ ทำได้และแบ่งปันได้ โดยแบ่งเป็นเรียนรู้วันละ 1-2ชั่วโมงอย่างส...
-
หลายสิบปีที่ผ่านมาในการทำงานประจำ ผู้เขียนได้ร่วมงานกับคนหลากหลายแบบจากหลายสิบแผนกในแวดวงคนทำงานกินเงินเดือน บางคนทำงานเพียง 2-3 ปีก็เปลี่ยนงานบางคนก็ทำงานในที่ทำงานเดิมเป็นสิบๆปี ...
-
หลายคนอาจจะรู้จัก To do list หรือรายการที่ต้องทำ มามากมายแล้ว วันนี้เก๋มาแลกเปลี่ยนวิธีการเขียน To do list กันค่ะ To do list หรือ รายการที่ต้องทำเปรียบเสมือน แผนที่ หรือ google map...
-
ชีวิต เหมือนการปั่นจักรยาน คุณจะต้องปั่นมันอย่างต่อเนื่อง มันถึงจะไปต่อได้ ไม่งั้นก็ล้มหรือไม่ก็หยุดอยู่กับที่ ชีวิตการทำงานก็เหมือนกัน ก็ต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลา จะช่วยให้ให้เราปรับ...
-
เริ่มปีใหม่ หลายคนอยากตั้งเป้าหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงตัวเอง หรือพัฒนาตัวเองไปในทางที่ดีขึ้น วันนี้ เก๋ก็มีเทคนิควิธีการง่ายๆในการตั้งเป้าหมายมาแบ่งปันกันค่ะ การตั้งเป้าหมาย (Goal ...
-
อ.เก๋ได้ฟังคลิปของ Stan lee ผู้แต่งเรื่องไอ้หนุ่มแมงมุม หรือ สไปเดอร์แมน (Spider-man) ที่เพื่อนโพสต์ใน FB ฟังแล้วได้ไอเดียดีๆ สำหรับสร้าง Growth Mindset เลยไปค้นหาคลิปต้นฉบับเต็มฟั...
-
ในปัจจุบันการทำงานที่เรียกว่า Work – life balance คงเป็นเป้าหมายชีวิตในชีวิตของหลายๆคน แต่จากการงานในปัจจุบันคงไม่มีงานไหนที่เราสามารถแยกชีวิตและงานออกได้อย่างชัดเจน และทำให้สมดุลก...
-
Adversity Quotient หรือ AQ คือ ความสามารถในการรับมือกับปัญหา ซึ่งเป็นการรวมความสามารถทั้งด้านร่างกายและจิตใจในการเผชิญหน้ากับปัญหา และการพยายามที่จะหาหนทางในการผ่านพ้นอุปสรรค ปัญ...