Why Why Diagram เครื่องมือสำหรับการวิเคราะห์ปัญหา โดย ศศิมา สุขสว่าง
Why-why diagram เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการคิดวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา ร่วมกับ Root Cause analysis ค่ะ บทความนี้เขียนโดยอ. ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com
เทคนิคนี้ มักจะใช้ เมื่อต้องการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ให้เป็นระบบ และเห็นสาเหตุที่มีความเชื่อมโยงกัน เทคนิคนี้จะช่วยในการเข้าใจปัญหา และสาเหตุในภาพรวมให้สามารถสำรวจสาเหตุที่เป็นไปได้อีกเป็นจำนวนมาก และเชื่อมโยงเข้ากับปัญหาโดยรวม แทนที่จะมุ่งไปที่สาเหตุเดี่ยวๆ เพียงสาเหตุเดียว ซึ่งอาจจะไม่เห็นปัญหาในภาพรวมอย่างเป็นระบบค่ะ บทความนี้เขียนโดยอ. ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com
เมื่อไรจะใช้ why why diagram บทความนี้เขียนโดยอ. ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com
- เมื่อต้องการระบุสาเหตุของปัญหาที่เป็นไปได้ทั้งหมด
- เมื่อต้องการเข้าใจปัจจัยหรือสาเหตุที่ทำให้ระบบเกิดของเสีย หรือปัญหา
วิธีการเขียน Why-why diagram บทความนี้เขียนโดยอ. ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com
1. ระบุปัญหาที่ต้องการหาสาเหตุบนด้านซ้ายของกระดาษ
2. สร้างไดอะแกรมของสาเหตุ ด้วยการถามว่า ทำไม แล้วจะได้คำตอบที่เป็นสาเหตุที่เป็นไปได้เพื่อตอบคำถามทำไม
3. ใช้คำตอบนั้น ตั้งเป็นคำถามด้วย ทำไม อีกครั้ง
4. ถามทำไมๆ แบบนี้อย่างน้อย 5 ครั้ง จนกว่าจะได้สาเหตุของปัญหาที่ชัดเจนและลึกเพียงพอ
ตัวอย่างเช่น บทความนี้เขียนโดยอ. ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com
อ.ศศิมา - เก๋ หวังว่า บทความนี้จะมีประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องวิเคราะห์ปัญหา ในการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์นะคะ เป็นกำลังใจให้ทุกท่านค่ะ
......................................
- สนใจหลักสูตร " Design Thinking for Innovation Development" วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตร " Analytical Thinking ทักษะการคิดวิเคราะห์ " วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตร " Critical thinking ทักษะการคิดวิพากษ์ " วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตร " Creative thinking to Innovation ทักษะการคิดสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรม " วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตรอื่นๆ ในการพัฒนานวัตกรรมและพัฒนาองค์กร ดูรายละเอียดทั้งหมด กดดูที่นี่
......................................
Creative to Innovation เป็นพื้นที่แบ่งปันและแลกเปลี่ยนแนวคิดเรื่องกระบวนการและเทคนิคการคิดสร้างสรรค์และการพัฒนานวัตกรรม โดยถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานด้านการวิจัยพัฒนานวัตกรรม ให้คำปรึกษา การสอนด้านการพัฒนานวัตกรรมของผู้เขียน (ศศิมา) ซึ่งเป็นนักพัฒนานวัตกรรมหรือนวัตกร (Innovator) และผันตัวมาแบ่งปัน อบรมสัมมนาให้คำปรึกษาด้านการพัฒนานวัตกรรม โดยการอบรมสัมมนาจะยึดหลัก 3Fs - Fun (สนุก) -Full (เต็มไปด้วยสาระ) - Friend (มิตรภาพการทำงานเป็น Team Work)
.................................
ติดตามข่าว เรื่องความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และแลกเปลี่ยนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม หรือติดต่อวิทยากรอบรม In-House training หลักสูตรความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม (Product Development and Innovation) ได้ที่
ศศิมา สุขสว่าง (เก๋)
E-mail : sasimasuk.com@gmail.com
Website : www.sasimasuk.com
line ID : sasimasuk.com
Facebook : https://www.facebook.com/CreativetoInnovation
Tel. : 081-560-9994
-
การคิด (Thinking skill) เป็นกิจกรรมที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลแก้ปัญหาตัดสินใจและสร้างแนวคิดใหม่ ๆ เรามักจะใช้ทักษะการคิดเมื่อพยายามทำความเข้าใจเกี่ยวกับประสบการณ์ การจัดระเบียบข้อมู...
-
การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)หมายถึง ความสามารถในการคิดจำแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูลหรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็นย่อยๆ ในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์ระหว่...
-
Design Thinkingเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมได้เป็นอย่างดี โดยเน้นเพื่อตอบโจทย์ผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมายเป็นจุดศูนย์กลาง (Human Centered) Design Thinkingเป็นกระบ...
-
การคิดเชิงระบบ ( Systems Thinking ) เป็นการคิดในภาพรวมที่เป็นระบบ และมีส่วนประกอบที่สัมพันธ์เชื่อมโยงจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ เป็นการคิดอย่างมีเหตุมีผล เน้นการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาดเพ...
-
เราอาจจะสงสัยว่า ทำไมบางคนเก่งเลข บางคนเก่งเรื่องของศิลปะ บางคนเก่งเรื่องทำอาหาร บางคนเก่งเรื่องกีฬา แตกต่างกันไป ปัจจัยอย่างหนึ่งที่สำคัญเรื่องนี้คือ การทำงานของสมองในแต่ด้านของคน...
-
การตัดสินใจ คือการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดจากทางเลือกหลายๆทางเลือก เพื่อให้องค์กรได้ประโยชน์สูงสุด และไม่มีความเสียหายผิดพลาดหรือมีน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การตัดสินใจนั้นเป็น...
-
การคิดวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause analysisหรือเรียกย่อๆว่า RCA หรือบางครั้งก็เรียกว่า แผนภูมิก้างปลา เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกับก้างปลา เทคนิคนี้ ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาได้เป็นอย่าง...
-
เก๋ดูหนังเรื่อง 21 เกมเดิมพันอัจฉริยะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเบน แคมป์เบล เป็นนักศึกษา M.I.T. ขี้อายแต่ฉลาด กำลังหาทุนเรียนแพทย์ แล้วได้ไปเข้ากลุ่มกับศาสตราจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสถิติของ...
-
เก๋ได้ไปอ่านบทความหนึ่งที่น่าสนใจที่เขียนโดยคุณ RICHARD SELLERS เกี่ยวกับกลยุทธ์ป้องกันการแข่งขันที่ใช้ในเวลาที่เรามีคู่แข่งทางการตลาดขึ้นมาแบบ ทำสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ แบบเดียวกัน ห...
-
บทความนี้ อ.เก๋มาแบ่งปันเรื่อง การคิดวิพากษ์ (Critical thinking) ซึ่งเป็นทักษะการคิดหนึ่งใน 4 C คือ Communication, Collaboration, Creativity และ Critical Thinking ที่จำเป็นสำหรับค...
-
ในการทำงานในอนาคต คนทำงานต้องมีทักษะใหม่ๆ ซึ่งทักษะสำหรับการทำงานที่สำคัญคือ "การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)"หรือ “การคิดอย่างมีเหตุผลรอบด้าน” หรือภาษาไทย หลายท่านอาจจะใช้...