Design Thinking โมเดลเครื่องมือพัฒนานวัตกรรม ตอนที่ 1

ปัจจุบัน  Design thinking เป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรม ที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง  เพราะเป็นเครื่องมือที่มีรวมกระบวนการทั้งด้านวิทย์และธุรกิจมารวมกัน โดยโดยเน้นเพื่อตอบโจทย์ผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมายเป็นจุดศูนย์กลาง (Human Centered) ซึ่งเป็นกระบวนการที่นำไปใช้ในองค์กรระดับโลกในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆอย่างกว้างขวาง เช่น Apple Nike google  และในเมืองไทยก็มีการนำมาใช้ในหลายๆองค์กรแล้ว เป็นต้น

 

โดยกระบวนการหลักๆของ Design Thinking คือ

 

1. การเข้าใจปัญหาของกลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้าในถูกต้อง (Human Centered) 

2. กระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา (Ideation & Brainstorming) 

3. การลงมือทำและทดสอบกับกลุ่มเป้าหมาย  (Prototype and Implement)

 

หลักการทั้ง 3 ข้อนั้น หลายองค์กรได้นำแนวทางดังกล่าว  มาพัฒนาโมเดล Design Thinking ของตัวเอง เพื่อใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ก็มีหลายๆโมเดลที่น่าสนใจ และเครื่องมือย่อยๆในแต่ขั้นตอนที่จะช่วยในการทำให้กระบวนการทั้ง 3 ข้อด้านบน  สามารถพัฒนานวัตกรรมเกิดขึ้นได้จริง 

  (เนื้อหาโดยอ.ศศิมา สุขสว่าง - อ. เก๋ - หากนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โปรดอีเมล์แจ้งขออนุญาตก่อนที่ sasimasuk.com@gmail.com หรือใส่เครดิต อ.ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com ด้วยค่ะ ขอบคุณมากค่ะ)

 

 

 

Design Thinking ของ D.School, Stanford university มี  5 ขั้นตอน ที่สำคัญคือ

1. Empathize

2. Define

3. Ideate

4. Prototype

5. Test

 

 

Design Thinking ของ The Double Diamond Design Process,  UK Design Council มี  4  ขั้นตอนที่เรียกว่า 4 D คือ

 

1. Discover

2. Define

3. Develop

4. Deliver

 

 

Design Thinking ของ  The Darden School ,University of Virginia มี 4  ขั้นตอนคือ

1. What is?

2. What if?

3. what wows?

4. what works?

 

 

Design Thinking ของ   IBM Design thinking มี  3   ขั้นตอน คือ 

1. Observe

2. Reflect

3. Make

 

Design Thinking ของ   IDEO Human-Centered Design Model  มี  3   ขั้นตอน คือ 

1. Inspiration

2. Ideation

3. Implementation

 

  (เนื้อหาโดยอ.ศศิมา สุขสว่าง - อ. เก๋ - หากนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โปรดอีเมล์แจ้งขออนุญาตก่อนที่ sasimasuk.com@gmail.com หรือใส่เครดิต อ.ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com ด้วยค่ะ ขอบคุณมากค่ะ)

Design Thinking ของ   The Google design sprint process  มี  6  ขั้นตอน คือ 

1. Understand

2. Define

3. Diverge

4. decide

5. Prototype

6. Validate

 

 

Design Thinking ของ   HPI D-School, Germany   โมเดลนี้เป็นการพัฒนาร่วมกันระหว่าง D-School กับ HPI ของเยอรมนี มี  6  ขั้นตอน คือ 

1. Understand

2. Observe

3. Point of View

4. Ideate

5. Prototype

6. Test

ส่วนใหญ่เก๋จะใช้โมเดลนี้ ร่วมกับ โมเดลของ D.School ในการแบ่งปันเรื่อง Design Thinking ในองค์กรต่างๆค่ะ 

 

และอีกมากมายหลายโมเดล  แต่หลักสำคัญๆของ Design Thinking 3 ประการตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นค่ะ

 (เนื้อหาโดยอ.ศศิมา สุขสว่าง - อ. เก๋ - หากนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โปรดอีเมล์แจ้งขออนุญาตก่อนที่ sasimasuk.com@gmail.com หรือใส่เครดิต อ.ศศิมา สุขสว่าง www.sasimasuk.com ด้วยค่ะ ขอบคุณมากค่ะ)

 

เก๋หวังว่า บทความนี้จะช่วยมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจวิธีการ แนวคิดในการนำความรู้ไปพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรม ตลอดจนการพัฒนาตัวเอง ทีมงาน และประสิทธิภาพการทำงานให้กับองค์กรนะคะ

...................................

- สนใจหลักสูตร "  Design Thinking for Innovation Developmentวิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่ 

- สนใจหลักสูตร " Creative to Innovation การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรม " วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่ 

- สนใจหลักสูตรอื่นๆ ในการพัฒนานวัตกรรมและพัฒนาองค์กร  ดูรายละเอียดทั้งหมด กดดูที่นี่   

...................................... 

Creative to Innovation เป็นพื้นที่แบ่งปันและแลกเปลี่ยนแนวคิดเรื่องกระบวนการและเทคนิคการคิดสร้างสรรค์และการพัฒนานวัตกรรม  โดยถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานด้านการวิจัยพัฒนานวัตกรรม ให้คำปรึกษา การสอนด้านการพัฒนานวัตกรรมของผู้เขียน (ศศิมา) ซึ่งเป็นนักพัฒนานวัตกรรมหรือนวัตกร (Innovator)  และผันตัวมาแบ่งปัน อบรมสัมมนาให้คำปรึกษาด้านการพัฒนานวัตกรรม  โดยการอบรมสัมมนาจะยึดหลัก 3Fs - Fun (สนุก) -Full (เต็มไปด้วยสาระ) - Friend (มิตรภาพการทำงานเป็น Team Work)

.................................

ติดตามข่าว เรื่องความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และแลกเปลี่ยนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม หรือติดต่อวิทยากรอบรม In-House training หลักสูตรความคิดสร้างสรรค์  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม (Product Development and Innovation) ได้ที่

ศศิมา สุขสว่าง (เก๋)

E-mail : sasimasuk.com@gmail.com

Website : www.sasimasuk.com

line ID : sasimasuk.com 

Facebook : https://www.facebook.com/CreativetoInnovation

Tel. : 081-560-9994 

แบบฟอร์มติดต่อกลับ

หรือส่งข้อมูลมาทาง sasimasuk.com@gmail.com ทางเราจะติดต่อกลับภายใน 1 วันค่ะ
Visitors: 348,388