การเข้าใจจุดเจ็บปวด (Pain Point) ของลูกค้าก่อนสร้างคุณค่า (Value Creation) โดยศศิมา สุขสว่าง
คุณค่า คือสัมการของการลดหรือบรรเทาจุดเจ็บปวดของลูกค้า + การสร้างสรรค์ผลตอบแทน + ผลิตภัณฑ์ / บริการที่พัฒนาให้กับลูกค้า หรือ เขียนเป็นสัมการ คือ
Value = Pain Relief + Gain Creation + Product/Service development
คุณค่าของสินค้าและบริการของของเรา จะแตกต่างกันไปสำหรับลูกค้าแต่ละกลุ่ม
ดังนั้น ถ้าเราจะต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ ลองดูว่า ลูกค้า เรามีปัญหา (Problem) จุดเจ็บปวด Pain Point) อะไร
ปัญหา (Problem) จุดเจ็บปวด (Pain Point) ของลูกค้า เช่น
- ลูกค้าใช้คำว่ามาก/เกินไป เช่น รอนานมากเกินไป แพงมากเกินไป
- ลูกค้าบ่นหรือไม่พอใจเรื่องอะไรบ่อยๆ
- สิ่งที่ลูกค้ากลัว คืออะไร เช่น เสียภาพพจน์
- อะไรที่ลูกค้ากังวลจนนอนไม่หลับ
- อะไรที่เป็นความเสี่ยงของลูกค้า
- อารมณ์เชิงลบที่ลูกค้ามักจะเกิดขึ้นตรงจุดไหน
- ผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับงานของลูกค้าคืออะไร
ดังนั้น เวลาเข้าใจปัญหา (Problem) แล้ว และสามารถลงลึกไปที่ Pain Point ของลูกค้าได้แล้ว เราจะสามารถสร้างและนำเสนอคุณค่า Gain Creation ให้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการของเรา ที่แก้ปัญหาและจุดปวดด้านบน ตอบโจทย์ให้กับลูกค้าได้อย่างไร
สิ่งที่เก๋เจอเยอะมากในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมในองค์กร หรือแม้แต่ในการระดมสมองในสัมมนาคือ คือ เราใช้เวลาในการทำความเข้าใจปัญหา และ Pain Point ของลูกค้าน้อยเกินไป หรือ เรามักจะมีภาพในหัวเราอยู่ แล้วด่วนสรุปตามประสบการณ์ของเราว่า เขามีปัญหาหรือจุดเจ็บปวดแบบนั้น แบบนี้ แล้วไปสู่กระบวนการระดมสมองเพื่อพัฒนานวัตกรรมเร็วเกินไป จนเมื่อผลิตภัณฑ์/บริการหรือไอเดียใหม่ๆที่คิดออกมา เป็นไอเดียเดิมๆ หรือ ไม่ช่วยแก้ปัญหาให้กับลูกค้าอย่างแท้จริงค่ะ
ภาษาอังกฤษ เขาจะมีคำว่า” Walk a Mile in Your Customers Shoes “ให้ “ลองเดินตามรอยลูกค้าของคุณ” เพื่อให้เข้าใจลูกค้าของท่านจริงๆ เรื่องเล็กๆของเรา อาจจะเป็นเรื่องใหญ่ของลูกค้าก็ได้ค่ะ
วันนี้ลองถอดรองเท้าของตัวเองออก แล้วจินตนาการว่าใส่รองเท้าของลูกค้า ซึ่งอาจจะเป็นลูกค้าภายในองค์กร เช่น หัวหน้า เพื่อนแผนกอื่นๆที่ทำงานที่มักจะมีประเด็น หรือลูกค้าภายนอกองค์กรที่มาติดต่องาน หรือใช้บริการสินค้าและผลิตภัณฑ์กับเราก็ได้นะคะ แล้วลองดูว่า ได้รับรู้จุดเจ็บปวด (Pain Point) อะไรที่จะสามารถนำมาสร้างคุณค่าตอบแทน(Gain Creation) ให้กับสินค้าและบริการของเราได้บ้างค่ะ
อ.เก๋ เป็นกำลังใจให้ทุกคนนะคะในการพัฒนาไอเดียใหม่ให้กับผลิตภัณฑ์และบริการ ขององค์กรเรานะคะ มีความสุขมากๆในทุกๆวันทำงานค่ะ
............................
- สนใจหลักสูตร " Design Thinking for Innovation Development" วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตร " Creative to Innovation การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรม " วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง ดูรายละเอียด กดที่นี่
- สนใจหลักสูตรอื่นๆ ในการพัฒนานวัตกรรมและพัฒนาองค์กร ดูรายละเอียดทั้งหมด กดดูที่นี่
......................................
Creative to Innovation เป็นพื้นที่แบ่งปันและแลกเปลี่ยนแนวคิดเรื่องกระบวนการและเทคนิคการคิดสร้างสรรค์และการพัฒนานวัตกรรม โดยถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงานด้านการวิจัยพัฒนานวัตกรรม ให้คำปรึกษา การสอนด้านการพัฒนานวัตกรรมของผู้เขียน (ศศิมา) ซึ่งเป็นนักพัฒนานวัตกรรมหรือนวัตกร (Innovator) และผันตัวมาแบ่งปัน อบรมสัมมนาให้คำปรึกษาด้านการพัฒนานวัตกรรม โดยการอบรมสัมมนาจะยึดหลัก 3Fs - Fun (สนุก) -Full (เต็มไปด้วยสาระ) - Friend (มิตรภาพการทำงานเป็น Team Work)
.................................
ติดตามข่าว เรื่องความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และแลกเปลี่ยนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และนวัตกรรม หรือติดต่อวิทยากรอบรม In-House training หลักสูตรความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม (Product Development and Innovation) ได้ที่
ศศิมา สุขสว่าง (เก๋)
E-mail : sasimasuk.com@gmail.com
Website : www.sasimasuk.com
line ID : sasimasuk.com
Facebook : https://www.facebook.com/CreativetoInnovation
Tel. : 081-560-9994
-
หลักสูตร "Design Thinking for Innovation Developmentพัฒนานวัตกรรมด้วย Design Thinking" วิทยากร อ.ศศิมา สุขสว่าง (เนื้อหาโดยอ.ศศิมา สุขสว่าง - อ. เก๋ - หากนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิช...
-
Design Thinking คือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบสำหรับพัฒนานวัตกรรมที่ผสมผสานการคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) และการคิดเชิงธุรกิจ (Business thinking) เพื่อพัฒนาสิ่งใหม่ๆและนวัตกรรมอย...
-
Design Thinking เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมได้เป็นอย่างดี โดยเน้นเพื่อตอบโจทย์ผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมายเป็นจุดศูนย์กลาง (Human Centered) Design Thinking เป็นกร...
-
ในปัจจุบัน กระแสของ Design thinking ซึ่งเป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรม ได้เป็นที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง เพราะเป็นเครื่องมือที่มีรวมกระบวนการทั้งด้านวิทย์และธุรกิจมารวมกัน ...
-
ปัจจุบัน Design thinking เป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรม ที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง เพราะเป็นเครื่องมือที่มีรวมกระบวนการทั้งด้านวิทย์และธุรกิจมารวมกัน โดยโดยเน้นเพื่อตอบโจทย...
-
ปัจจุบัน Design thinking เป็นกระบวนการหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรม ที่กล่าวถึงกันอย่างกว้างขวาง เพราะเป็นเครื่องมือที่มีรวมกระบวนการทั้งด้านวิทย์และธุรกิจมารวมกัน โดยโดยเน้นเพื่อตอบโจทย...
-
Design Thinking เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนานวัตกรรมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบที่ผสมผสานการคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) และการคิดเชิงธุรกิจ (Business thinking) ที่เน้นคนแล...
-
ทักษะการฟังอย่างเข้าใจเชิงลึก (Empathic Listening)เพื่อค้นหาความต้องการของลูกค้าและพัฒนานวัตกรรมนั้นเป็นทักษะที่สำคัญอีกทักษะหนึ่งในกระบวนการการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เพื่...
-
Design Thinking เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมโดยเน้น การแก้ปัญหาเพื่อตอบโจทย์ผู้ใช้งานหรือกลุ่มเป้าหมายเป็นจุดศูนย์กลาง (Human Centered หรือ People Centered) (เนื้...
-
Empathize เป็น การทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายที่แท้จริง เข้าใจในปัญหา ความกังวล (Pain Point) ความต้องการ (Gain Point) ความจำเป็น อารมณ์ความรู้สึก การกระทำที่ออกมา ความหมายในสายตาของก...
-
การระดมสมอง หรือการระดมความคิด (Brainstorm) เพื่อปลุกไอเดียสร้างสรรค์ เป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการระดมความคิดเพื่อหาไอเดียสร้างสรรค์ไหม่ๆ หรือใช้ในระดมความคิดเพื่อแก้ไขปัญหา ...
-
หลังจากที่เราได้พัฒนาต้นแบบใหม่ๆหรือนวัตกรรมใหม่ๆเพื่อที่จะนำไปพัฒนาเพื่อเป็นนวัตกรรมของบริษัทนั้น คนแรกที่เราจะต้องขายไอเดียให้ได้ก่อน อาจจะเป็น หัวหน้าเรา ผู้จัดการ ผู้อำนวยการห...
-
เราเคยเห็นเกมโชว์ที่ มีคำอธิบายเป็นประโยค แล้วให้คนที่ 1 อ่าน แล้วคนที่ 1 ต้องถ่ายทอดต่อไปคนที่ 2 แล้วคนที่ 2 บอกต่อไปคนที่ 3 ต่อไปเรื่อยๆจนถึงคนสุดท้าย สรุปสุดท้ายประโยคที่กำหนด ก...
-
หลายครั้งที่เก๋ไปแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรื่องของการพัฒนานวัตกรรมโดยใช้ Design thinking ซึ่งหลักการคือต้อง Empathy ลูกค้า ลูกน้อง หรือ Stake holder เพื่อให้เข้าใจปัญหาและ Pain Point จ...
-
หลายครั้งที่เราได้รับรู้ปัญหา และ Pain Point ของลูกค้าแล้ว ซึ่งมันอาจจะเยอะไปหมด จนไม่รู้ว่าจะแก้ไขปัญหาไหนก่อนหลัง ให้มีประสิทธิภาพและ impact ที่จะเกิดประโยชน์ที่สุดทั้งต่อลูกค้าแ...
-
วันนี้เก๋มาแบ่งปัน เทคนิค 10-Minute Time-jump หรือการข้ามเวลา 10 นาที เป็นวิธีที่ใช้สังเกตพฤติกรรมของลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เข้าใจสภาวะ ความรู้สึก ปัญหา Pain , Gain ของลูก...